Category: ข่าวสาร

วิตามิน D กับโรค MPNs

วิตามิน D กับโรค MPNs ในอดีตที่ผ่านมามีข้อสงสัยว่า คนเป็น MPNs ควรได้รับวิตามิน D เสริมหรือไม่ ความจริงคือ คนเป็น MPN ส่วนใหญ่ มักขาดวิตามิน D หากได้ตรวจ แต่ความสงสัยที่ยังไม่ได้พิสูจน์แน่ชัดคือ วิตามิน D เป็นสารกระตุ้นให้เกิดการกลายพันธุ์มากขึ้น นำไปสู่การพัฒนาของโรคหรือไม่ ในอดีตมีทั้งงานวิจัยที่สนับสนุนให้เสริมวิตามิน D และงานวิจัยที่คัดค้านว่าวิตามิน D อาจจะทำให้เร่งการพัฒนาของโรคเร็วขึ้น บทความนี้ก็ไม่ได้ชี้แนะว่า ผู้ป่วยควรรับวิตามิน D…

อาการคันใน MPNs

อาการคันเมื่อสัมผัสกับน้ำ Aquagenic Pruritus (AP) เป็นสิ่งที่พบมากกว่าอาการคันที่ไม่ได้สัมผัสน้ำในผู้ป่วย MPNs การศึกษาในผู้ป่วย MPN 500 คน พบว่า ผู้อาการคันแบบ AP มีโอกาสเกิดการพัฒนาของโรคไปเป็น AML หรือ MF ได้มากกว่าผู้ป่วยที่มีอาการคันแบบ non-AP ruxolitinib และ hydroxyurea คือยาที่สามารถลดอาการคันได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อนๆสมาชิกสามารถอ่านข้อมูลเพิ่มเติมได้ตามลิงค์นี้นะครับ CR: the owner of data และขอขอบคุณ…

ผลไม้(grapefruit) มีปฎิกริยาต่อยาหลายชนิด

ผลไม้ที่มีสาร Furanocoumarins เช่น grapefruit, pomelo (ส้มโอ) มีปฎิกริยาต่อยาหลายชนิด เป็นผลไม้ที่ควรหลีกเลี่ยงสำหรับผู้ใช้ยาลดเม็ดเลือด ยาป้องกันการแข็งตัวของเลือด ยาลดคลอเรสเตอรอล และยาอื่นๆอีกมาก ยาที่ใช้กับผู้ป่วย MPN มีปฎิกริยาต่อสารนี้อย่างมากคือ interferon ,ruxolitinib , xarelto,plavix ยาลดคลอเรสเตอรอล statins ส่วน hydrea กำลังมีการศึกษาเรื่องนี้อยู่ แต่ที่ผ่านมาไม่พบหลักฐานที่ชี้ชัดว่าสารนี้มีผลต่อ hydrea ลักษณะของผลไม้ที่มีสารนี้มากมีลักษณะคล้ายส้ม ที่มีเปลือกหนา มีรสฝาดเปรี้ยว เช่น เกรปฟรุต…

การศึกษาถึงอัตราการเกิดเลือดอุดตันชนิดที่เกิดเป็นลิ่มเลือด

มีบทความที่น่าสนใจ ตีพิมพ์เมื่อ 7/07/2023 สองวันที่ผ่านมา เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลในอดีตตั้งแต่ปี 2007-2019 จากผู้ป่วย PV 82,960 คน ซึ่งเป็นฐานข้อมูลจำนวนมาก เป็นการศึกษาถึงอัตราการเกิดเลือดอุดตันชนิดที่เกิดเป็นลิ่มเลือดก่อน แล้วเกิดอุดตันในหลอดเลือดของอวัยวะ เรียกว่า Thromboembolism อุบัติการณ์นี้มีชื่อเรียกว่า Thromboembolic events (TE) พบว่า ผู้ใช้เพียง Hydroxyurea(HU) เพียงอย่างเดียวตลอดระยะเวลาการรักษาจำนวน 3,852 คน มีอัตราการเกิด TE ลดลงในช่วงแรก แต่เพิ่มขึ้นในภายหลัง ที่ใช้…

การเจาะเลือดออกเพียงอย่างเดียวสามารถรักษาระดับฮีมาโตคริตตามเป้าหมายได้อย่างเพียงพอในผู้ป่วย PV ที่มีความเสี่ยงต่ำหรือไม่?

ประเด็นการศึกษาทดลอง การเจาะเลือดออก (Phelbotomy) เพียงอย่างเดียวสามารถรักษาระดับฮีมาโตคริตตามเป้าหมายได้อย่างเพียงพอในผู้ป่วยที่มีภาวะโรคเลือดข้น Polycythemia Vera (PV) ที่มีความเสี่ยงต่ำหรือไม่? วิธีการศึกษา ในการทดลองสุ่มแบบ open-label ระยะที่ 2 เราเปรียบเทียบโรเปกอินเตอร์เฟอรอน alfa-2b (ropeg; 100 μg ทุก 2 สัปดาห์) กับการตัดโลหิตออกเฉพาะที่เกี่ยวกับการรักษาระดับมัธยฐานฮีมาโตคริต (≤45%) ในช่วง 12 เดือนที่ไม่มีการดำเนินของโรค ( จุดสิ้นสุดหลัก) ในการติดตามผล อนุญาตให้ข้ามไปยังกลุ่มการรักษาทางเลือกได้หากไม่พบจุดสิ้นสุดหลัก…

การวัดการกลายพันธุ์เชิงปริมาณในการวินิจฉัยโรคและพยากรณ์โรค ในPV

20 เมษายน 2523 บทความนี้ถูกตีพิมพ์ในวารสารทางการแพทย์หลายฉบับ JAK2V617F allele burden in polycythemia vera: burden of proof เนื้อหาเกี่ยวกับการใช้ Jak2 Allele Burden หรือ ในบทความนี้ใช้ชื่อว่า Varient Allele Frequency (VAF) เป็นการวัดปริมาณของยีนกลายพันธุ์เป็นเปอร์เซ็นต์เมื่อเทียบกับยีนปกติ สีเทาคือยีนปกติ สีฟ้าคือยีนที่มีความผิดปกติที่โครโมโซมเดี่ยว heterozygous คือคนที่เป็น ET สีแดงคือยีนผิดปกติในทั้งคู่ของโครโมโซม…

สรุปการประชุม MPN Horizons 2022- Day 3

สรุปการประชุม MPN Horizons 2022- Day 3 สวัสดีครับเพื่อนๆสมาชิกชมรมผู้ป่วยโรค MPN ประเทศไทย และ ผู้สนใจทั่วทุกท่าน วันที่ 3 ของการประชุม: วันอาทิตย์ที่ 20 พ.ย. 65 – วันสุดท้ายของการประชุม เริ่มต้นด้วย advocacy session ในหัวข้อ From theory to reality โดย Lindsey…

สรุปการประชุม MPN Horizons 2022- Day 2

สวัสดีครับเพื่อนๆสมาชิกชมรมผู้ป่วยโรค MPN ประเทศไทย และ ผู้สนใจทั่วไป ทุกท่านครับ วันที่ 2 ของการประชุม: วันเสาร์ที่ 19 พ.ย. 65 – เริ่มต้นด้วย หัวข้อที่น่าสนใจมากข้อหนึ่งของ medical session คือ Novel Therapies in MPNs เกี่ยวกับ การรักษาวิธีใหม่ๆของโรค MPNs – Dr. Naveen ได้เริ่มนำเสนอให้เห็นภาพรวม…

สรุปการประชุม MPN Horizons 2022- Day 1

สรุปการประชุม MPN Horizons 2022- Day 1 สวัสดีครับเพื่อนๆสมาชิกชมรมผู้ป่วยโรค MPN ประเทศไทย และ ผู้สนใจทั่วไป ทุกท่านครับ เป็นธรรมเนียมปฏิบัติของผมทุกครั้ง ที่มีโอกาสเป็นตัวแทนของชมรมฯเราไปร่วมการประชุมประจำปีนานาชาติที่เรียกว่า MPN Horizons International Conference ซึ่งปีนี้จัดที่ เมือง Netanya ประเทศ Israel 3 วัน ระหว่างวันที่ 18 ถึง 20 พฤจิกายน…

เสวนาออนไลน์ผ่าน FB Live ครั้งที่ 2

สวัสดีครับเพื่อนๆสมาชิกและสาธารณชนทั่วไปทุกท่านครับ ผมขอเป็นตัวแทนของ ชมรมผู้ป่วยโรค MPN ประเทศไทย ขอขอบคุณ คุณศิรินทิพย์ประธานมูลนิธิเครือข่ายมะเร็ง อาจารย์นพดล ประธานชมรมโรค MPN ประเทศไทย (กลุ่มแพทย์) และ อาจารย์ทั้ง 3 ท่านจากโรงเรียนแพทย์ ร.พ. พระมงกุฎฯ, ร.พ.จุฬาฯ , คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, อ. อิศรางค์ จากสภากาชาดไทย รวมทั้ง อ.ตั้มและคุณแอม ตัวแทนผู้ป่วย ที่ร่วมกันทำให้ เสวนาออนไลน์ผ่าน…

นับถอยหลังอีก 4 วัน “รู้ทันมะเร็งโรคเลือดชนิดหายาก MPN ครั้งที่2”

ชมรมผู้ป่วยโรค MPN ประเทศไทย ร่วมกับ มูลนิธิเครือข่ายมะเร็ง (Thai Cancer Society) พันธมิตรหลักของเราได้เชิญ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญโลหิตวิทยา จากชมรมโรค MPN แห่งประเทศไทย(กลุ่มแพทย์)และ ศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ สภากาชาดไทย จัดเสวนาในหัวข้อ “รู้ทันมะเร็งโรคเลือดชนิดหายาก MPN ครั้งที่2” ผ่านทาง FB Live วันเสาร์ที่ 17 กันยายน 2565 เวลา14.00 – 16.00 น.…

8th September – MPN Awareness Day

8th September – MPN Awareness Day สวัสดีครับเพื่อนๆสมาชิกและผู้สนใจทุกท่าน วันนี้ วันพฤหัสบดีที่ 8 กันยายน 2565 ถือเป็นวันที่มีความสำคัญวันหนึ่งครับ โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการให้ความช่วยเหลือสนับสนุน ผู้ป่วยโรคมะเร็งทางโลหิตวิทยา หรือ โรคมะเร็งเลือด ไม่ว่าจะเป็น เครือข่ายองค์กรผู้สนับสนุนช่วยเหลือผู้ป่วย แพทย์ หรือ ผู้ป่วย ทั่วโลก เนื่องจาก วันพฤหัสบดีที่ 2 ของเดือนกันยายน ของทุกปี ถือเป็น วันมะเร็งโรคเลือด…

FDA สหรัฐอเมริกา ให้การรับรองยา Pemigatinib สำหรับ MPN ที่มียีนกลายพันธุ์ FGFR1

Pemigatinib (Pemazyre) เมื่อวันที่ 26/08/2022 เป็น protein kinase inhibitor ที่ยับยั้งกลไกของยีน FGFRs เท่านั้น ไม่ใช่สำหรับยีนกลายพันธุ์หลัก ผู้ป่วย MPN ที่มียีนกลายพันธุ์ FGFR1 นี้ จัดอยู่ในกลุ่ม triple negative ซึ่งมักมีอาการรุนแรงและไม่ตอบสนองต่อยาหลักเช่น jak inhibitors Dr. Verstovsek พูดว่าการรับรองยานี้ สำหรับ MPN เป็น earth…

“รู้ทันมะเร็งโรคเลือดชนิดหายาก MPN ครั้งที่2”-17 กันยายน 2565

มะเร็งโรคเลือด MPN คืออะไร การปฏิบัติตัวสำหรับผู้ป่วย MPNในช่วงแพร่ระบาดโควิด19 ทำไมผู้ป่วยมะเร็งต้องการเลือดและสเต็มเซลล์ในการรักษา เตรียมตัวอย่างไรเพื่อบริจาคเลือดให้ผู้ป่วย พบปะพูดคุยกับผู้ป่วยและถามคำถามกับแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ ชมรมผู้ป่วยโรค MPN ประเทศไทย ร่วมกับ มูลนิธิเครือข่ายมะเร็ง (Thai Cancer Society) พันธมิตรหลักของเราได้เชิญ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญโลหิตวิทยา จากชมรมโรค MPN แห่งประเทศไทย(กลุ่มแพทย์)และ ศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ สภากาชาดไทย จัดเสวนาในหัวข้อ “รู้ทันมะเร็งโรคเลือดชนิดหายาก MPN ครั้งที่2” ผ่านทาง FB Live…

ผู้ป่วยโรคเกล็ดเลือดสูง ETที่มีเกล็ดเลือดสูงมาก พบในคนอายุน้อยมากกว่าคนสูงอายุ

เป็นบทความที่ผู้ป่วยโรคเกล็ดเลือดสูง ETที่มีเกล็ดเลือดสูงมาก พบในคนอายุน้อยมากกว่าคนสูงอายุ เกี่ยวข้องกับยีน CALR มากกว่า ยีน Jak2 Next-generation sequencing (NGS) was conducted in 244 patients taken from the total cohort. A higher prevalence of gene mutations was observed among…

MPN Family Talk: 1st EP Sat.13 Aug 22

MPN Family Talk: 1st EP Sat.13 Aug 22 ผมดีใจมากที่ความตั้งใจของผมได้เริ่มนับหนึ่งแล้ว การพูดคุยพบปะกันทาง Line Meeting แบบสบายๆเป็นกันเองแบบครอบครัวเดียวกัน ได้ฟังการแลกเปลี่ยนข้อมูลกันของเพื่อนๆสมาชิกครบทั้ง 3 ชนิดของโรค MPNs เลย คือ PV ET และ MF พวกเราคุยกันประมาณ 1 ชม.เศษ ส่วนตัวผมถือว่า เป็นครั้งแรกที่ประสบความสำเร็จมาก และทำให้มีกำลังใจที่จะจัดการพูดคุยแบบนี้ ในครั้งต่อๆไป…

EHA 2022 Hybrid Congress : June 9-17 EP3

EHA 2022 Hybrid Congress : June 9-17 EP3: สรุปประเด็นสำคัญ Myeloproliferative Neoplasms (MPNs) ตอนที่3 สวัสดีครับเพื่อนๆสมาชิกชมรมผู้ป่วยโรค MPN และผู้สนใจทั่วไป ทุกท่าน ในตอนที่ 1และ 2 ผมได้นำเอาข้อมูลเกี่ยวกับ ยายับยั้ง JAK Inhibitors และ การรักษาผู้ป่วยโรคพังผืดในไขกระดูก MF ที่มีความจำเป็นต้องทำ การปลูกถ่ายไขกระดูก หรือ…

EHA 2022 Hybrid Congress : June 9-17 EP2

EHA 2022 Hybrid Congress : June 9-17 EP2: สรุปประเด็นสำคัญ Myeloproliferative Neoplasms (MPNs) ตอนที่2 สวัสดีครับเพื่อนๆสมาชิกชมรมผู้ป่วยโรค MPN และผู้สนใจทั่วไป ทุกท่าน ในตอนที่ 1 ผมได้นำเอาข้อมูลเกี่ยวกับ ความแตกต่างของยายับยั้ง JAK Inhibitors ตัวใหม่ๆเมื่อเปรียบเทียบกับ ยา Ruxolitinib ที่ใช้รักษาผู้ป่วยโรคพังผืดในไขกระดูก MF ส่วนในตอนที่ 2…

EHA 2022 Hybrid Congress : June 9-17 EP1

EHA 2022 Hybrid Congress : June 9-17 EP1: สรุปประเด็นสำคัญ Myeloproliferative Neoplasms (MPNs) สวัสดีครับเพื่อนๆสมาชิกชมรมผู้ป่วยโรค MPN และผู้สนใจทั่วไป ทุกท่าน ผมขอนำเอาข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องยายับยั้ง JAK Inhibitors ซึ่งผมเห็นว่าน่าสนใจจึงนำมาเขียนเป็นตอนแรก ดังนี้ครับ ความแตกต่างของยายับยั้ง JAK Inhibitors ตัวใหม่ๆเมื่อเปรียบเทียบกับ ยา Ruxolitinib ที่ใช้รักษาผู้ป่วยโรคพังผืดในไขกระดูก MF –…

สรุปผลการศึกษาผู้ป่วยโรค MPNs ของประเทศไทย

สรุปผลการศึกษาผู้ป่วยโรค MPNs ของประเทศไทย Background โฟกัสที่ผู้ป่วยโรค MPNs ประกอบด้วย โรคเลือดข้น PV โรคเกล็ดเลือดสูง ET และ โรงพังผืดในไขกระดูก MF ซึ่งข้อมูลจาก Seirra Oncology เกี่ยวกับภาวะแทรกซ้อนของการอุดตันในหลอดเลือด ของผู้ป่วยที่พึ่งได้รับการวินิจฉัยใหม่ๆ พบว่า โดยรวม 20% มีการอุดตันในหลอดเลือดแดง (Arterial thrombosis)16.2% มีการอุดตันในหลอดเลือดดำ (Venous thrombosis) 6.2% มีภาวะการตกเลือด…

เกณฑ์วินิจฉัยโรคเลือดข้น PV ของ WHO2016

การวินิจฉัยโรคเลือดข้น PV ค่อนข้างซับซ้อนกว่าโรคอื่นในกลุ่ม MPN ผู้ป่วย PV ควรย้อนกลับไปดูผลตรวจของตัวเองว่ามีครบตามเกณฑ์ ของ WHO 2016 หรือไม่ จะได้ไม่กินยาผิดโรค มี 3 ข้อเกณฑ์หลัก และ 1 ข้อเกณฑ์รอง เกณฑ์หลัก 1) ชาย HB>16.5 g/dl หรือ HCT>49% , หญิง HB>16.0 g/dl หรือ…

หลักการวินิจฉัยโรคเกล็ดเลือดสูง ET ของ WHO 2016

หลักการวินิจฉัยโรคเกล็ดเลือดสูง ET ของ WHO 2016 มี 4 ข้อกำหนดหลัก และ 1 ข้อกำหนดรอง หากได้ครบ 4 หลัก ไม่จำเป็นต้องตรวจตามข้อกำหนดรอง วินิจฉัยว่าเป็น ET ได้เลย หากมีครบเพียง 3 หลัก ต้องตรงตามข้อกำหนดรอง จึงจะวินิจฉัยเป็น ET ได้ (3+1) ข้อกำหนดหลัก 1 ) เกล็ดเลือด…

MPN Horizons International Conference 2021

สวัสดีเพื่อนสมาชิกและผู้สนใจทั่วไปทุกท่านครับ ผมขอประชาสัมพันธ์ การประชุมนานาชาติประจำปี MPN Horizons International Conference 2021 ซึ่งกำลังจะเริ่มแล้วเป็นเวลา 3 วัน ปลายสัปดาห์นี้ ระหว่างวันศุกร์ 12 พ.ย. ถึง วันอาทิตย์ที่ 14 พ.ย. 64 ซึ่งปีนี้เป็นอีกครั้งที่ต้องจัดในรูปแบบออนไลน์ Virtual Meeting. ผมและคุณบูรชัย เป็นตัวแทนของชมรมฯเราเข้าร่วมการประชุมครั้งนี้ และเป็นธรรมเนียมปฏิบัติของเราที่จะพยายามนำเอาข้อมูลที่สำคัญและอัพเดทของโรคมะเร็งเลือด MPN ทั้ง 3 โรค…

กรุงเทพธุรกิจได้สัมภาษณ์ อาจารย์อาจรบเกี่ยวกับโรคมะเร็งเลือดชนิดหายาก MPN

สวัสดีครับเพื่อนๆสมาชิกและผู้สนใจทั่วไป วันนี้ผมขอนำเอา ลิงค์ที่ทาง กรุงเทพธุรกิจ ได้สัมภาษณ์ อาจารย์อาจรบ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญจากโรงพยาบาลศิริราช เกี่ยวกับ โรคมะเร็งเลือดชนิดหายาก MPN ซึ่งผมเห็นว่ามีประโยชน์มากครับ อยากให้ลองอ่านกันดูนะครับ https://liff.line.me/1454988218…/v2/article/2DDqNqB…

Pevonedistat

Ruxolitinib สามารถลดอาการได้ดีแต่ไม่สามารถลดการกลายพันธุ์ได้ จึงมีการค้นหายาใหม่ที่มุ่งเป้าไปที่ pathway อื่น เพื่อประโยชน์ที่ได้มากกว่า Pevonedistat เป็นตัวยับยั้ง pathway ของ NFkB ซึ่งให้ผลไม่ซ้ำซ้อนกับยา Ruxolitinib จากการทดลองในหนู พบว่าสามารถลด TNFα responses ในผู้ป่วย MF และ CD34+ ในผู้ป่วย sAML นอกจากนั้นยังยับยั้ง cytokines ที่ก่อให้เกิดการอักเสบได้ดีกว่า ruxolitinib ไม่ว่าจะใช้ยานี้เพียงยาเดียว หรือใช้ร่วมกับ ruxolitinib…

Mutations in JAK2, CALR, and MPL and the effect on response to IFNα in MPN

งานวิจัยใหม่ 29/9/2021 Interferon alfa สรุป High dose ได้ผลดีต่อ Jak2 heterozygous แต่ใช้เวลานาน Low dose ได้ผลดีต่อ Jak2 homozygous ใช้เวลาสั้นกว่า (PV เป็น Jak2 homozygous ET เป็น Jak2 heterozygous ) High dose ไม่มีหลักฐานยืนยันได้ว่าดีต่อ Calr…

7th Annual Women & MPN Conference-MPNs Outlook2021

สรุปมุมมอง การรักษาของโรคมะเร็งเลือด MPNs ทั้ง 3 โรค ในปีนี้ จากการประชุม 7th Annual Women & MPN Conference เมื่อวันที่ 24 กันยายน 64 โดย Dr. Ruben Mesa Outlook 2021 โรคเลือดข้น PV -เน้นความสำคัญของการใช้ interferon -รอการรับรอง Ropeginterferon…

เสวนาออนไลน์ มะเร็งโรคเลือด MPN-25 กันยายน 64

ผมต้องขอขอบคุณ คุณหมอผู้เชี่ยวชาญ อ.นพดล อ.อาจรบ ภญ.อภิรมย์ และคุณเบลล่ามากนะครับที่มาร่วมเป็นวิทยากรเสวนาฯ เพื่อให้ข้อมูลความรู้ ความเข้าใจ แนวทางการรักษา และการส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยมะเร็งโรคเลือด MPN ร่วมกันเมื่อวานนี้ ส่วนตัว ผมถือว่างานเสวนาออนไลน์ครั้งแรกของชมรมผู้ป่วยโรค MPN ประเทศไทย ได้จัดขึ้นร่วมกับพันธมิตรมืออาชีพ คือ มูลนิธิเครือข่ายมะเร็ง ประสบผลสำเร็จตามที่คาดหวังไว้ เนื่องจาก โรคมะเร็งเลือด MPN พูดได้เลยว่าแม้แต่ ตัวผู้ป่วยเอง ยังไม่เคยได้ยินหรือรู้จักกับชื่อโรคนี้เลย ไม่ต้องพูดถึงประชาชนทั่วไปยิ่งไม่รู้ข้อมูลเลย แม้แต่คุณหมอโรคเลือดถ้าไม่ใช่ผู้เชี่ยวชาญยังไม่เข้าใจโรคได้อย่างลึกซึ้ง ดังนั้น ส่วนตัวก่อนจัดงานเสวนาผ่าน…

ข้อมูลเกี่ยวกับมะเร็งโรคเลือด MPN ชนิดเกล็ดเลือดสูง(e-book)

สัปดาห์นี้เรามานับถอยหลังก่อนถึงวันจัดงานเสวนา “รู้ทัน มะเร็งโรคเลือดชนิดหายาก MPN ดูแลตัวเองอย่างไรในช่วงโควิดฯ” เสาร์ที่ 25 ก.ย. กันนะครับ ส่วนตัวผมค่อนข้างจะตื่นเต้นกับการจัดงานครั้งนี้ เนื่องจากมะเร็งโรคเลือดชนิดหายาก MPN (โรคพังผืดในไขกระดูก. โรคเลือดข้น, โรคเกล็ดเลือดสูง) เป็นโรคที่น้อยคนจะรู้จัก และอาจเรียกได้ว่าเป็นโรคที่ถูกลืม เนื่องจากอาการที่มีโดยทั่วไปของโรคกลุ่มมีความไม่รุนแรง เช่น มีภาวะเหนื่อยง่าย ซีด เวียนศีรษะ อาเจียน แต่หากไม่ได้รับการตรวจวินิจฉัยและรักษาอย่างถูกต้อง ผู้ป่วยในกลุ่มมะเร็งโรคเลือดเหล่านี้ สามารถมีอาการอื่นๆ ที่มีความรุนแรงมากขึ้น เช่น ม้ามโต มีภาวะลิ่มเลือดอุดตัน…

ข้อมูลเกี่ยวกับมะเร็งโรคเลือดชนิดเลือดข้น(e-book)

วันนี้ผมขอให้ข้อมูลเกี่ยวกับมะเร็งโรคเลือดชนิดเลือดข้นนะครับ e-book ฉบับเต็มสามารถคลิกลิงค์นี้ได้เลยครับ https://online.flipbuilder.com/vhrsq/plre/ โรคเลือดข้น เป็นอีกหนึ่งมะเร็งโรคเลือดที่พบยาก และมักพบในคนช่วงอายุประมาณ 60-70 ปี ความผิดปกติสาเหตุของโรคเลือดข้นคือ ไขกระดูกผลิตเม็ดเลือดแดงมากเกินไป ทำให้เลือดหนืด และเนื่องจากเลือดข้นมากทำให้ผู้ป่วยมีอาการปวดศีรษะ มึนงง และอาจมีภาวะการอุดตันของหลอดเลือดได้ ชมรมผู้ป่วย MPN มีความตั้งใจรณรงค์ให้ข้อมูลเพื่อสร้างความเข้าใจตระหนักรู้เกี่ยวกับมะเร็งโรคเลือดMPN เพื่อให้ผู้ที่มีอาการและอาจมีโอกาสเป็นโรคนี้ เข้ารับการรักษา หรือกรณีผู้ดูแลผู้ป่วยให้มีความเข้าใจเกี่ยวกับโรคและวิธีดูแลผู้ป่วย เพราะถึงแม้ว่ามะเร็งชนิดนี้จะรักษาไม่หาย แต่ผู้ป่วยสามารถมีคุณภาพชีวิตที่ดี และมีชีวิตที่ยืดยาวได้ หากได้รับการรักษาที่ถูกต้อง