MPN Awareness Day 2023 : วันที่ 14 กันยายน 2566 !
ปีนี้ MPN Awareness Day ตรงกับวันที่ 14 กันยายน 2566 ! วันแห่งการรับรู้ของ MPN คืออะไร? MPN Awareness Day เป็นกิจกรรมประจำปีที่จัดขึ้นในเดือนกันยายนของทุกปีเพื่อสร้างความตระหนักรู้เกี่ยวกับโรค myeloproliferative neoplasms (MPNs) MPNs เป็นกลุ่มของมะเร็งเม็ดเลือดหายากที่ส่งผลต่อไขกระดูกและทำให้เซลล์เม็ดเลือดผลิตมากเกินไป MPN AwarenessDay มีเป้าหมายเพื่อให้ความรู้แก่ผู้คนเกี่ยวกับโรค MPNs และผลกระทบที่อาจมีต่อผู้ป่วยและครอบครัว นอกจากนี้ ยังสนับสนุนให้มีการตรวจพบ วินิจฉัย และรักษาโรค…
เสวนาในหัวข้อ “รู้ทันมะเร็งโรคเลือดชนิดหายาก MPN & MDS”
สวัสดีครับ เพื่อนๆสมาชิกและประชาชนผู้สนใจทั่วไป (เวลาผ่านไปเรื่อยๆ เหลือเวลาไม่ถึงเดือนแล้วครับ) ชมรมผู้ป่วยโรค MPN ประเทศไทย ร่วมกับ มูลนิธิเครือข่ายมะเร็ง (Thai Cancer Society) พันธมิตรหลักของเราได้เชิญ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญโลหิตวิทยา จากชมรมโรค MPN แห่งประเทศไทย(กลุ่มแพทย์) จัดเสวนาในหัวข้อ “รู้ทันมะเร็งโรคเลือดชนิดหายาก MPN & MDS” ผ่านทาง FB Live วันเสาร์ที่ 9 กันยายน 2566 เวลา13.00…
วิตามิน D กับโรค MPNs
วิตามิน D กับโรค MPNs ในอดีตที่ผ่านมามีข้อสงสัยว่า คนเป็น MPNs ควรได้รับวิตามิน D เสริมหรือไม่ ความจริงคือ คนเป็น MPN ส่วนใหญ่ มักขาดวิตามิน D หากได้ตรวจ แต่ความสงสัยที่ยังไม่ได้พิสูจน์แน่ชัดคือ วิตามิน D เป็นสารกระตุ้นให้เกิดการกลายพันธุ์มากขึ้น นำไปสู่การพัฒนาของโรคหรือไม่ ในอดีตมีทั้งงานวิจัยที่สนับสนุนให้เสริมวิตามิน D และงานวิจัยที่คัดค้านว่าวิตามิน D อาจจะทำให้เร่งการพัฒนาของโรคเร็วขึ้น บทความนี้ก็ไม่ได้ชี้แนะว่า ผู้ป่วยควรรับวิตามิน D…
อาการคันใน MPNs
อาการคันเมื่อสัมผัสกับน้ำ Aquagenic Pruritus (AP) เป็นสิ่งที่พบมากกว่าอาการคันที่ไม่ได้สัมผัสน้ำในผู้ป่วย MPNs การศึกษาในผู้ป่วย MPN 500 คน พบว่า ผู้อาการคันแบบ AP มีโอกาสเกิดการพัฒนาของโรคไปเป็น AML หรือ MF ได้มากกว่าผู้ป่วยที่มีอาการคันแบบ non-AP ruxolitinib และ hydroxyurea คือยาที่สามารถลดอาการคันได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อนๆสมาชิกสามารถอ่านข้อมูลเพิ่มเติมได้ตามลิงค์นี้นะครับ CR: the owner of data และขอขอบคุณ…
ผลไม้(grapefruit) มีปฎิกริยาต่อยาหลายชนิด
ผลไม้ที่มีสาร Furanocoumarins เช่น grapefruit, pomelo (ส้มโอ) มีปฎิกริยาต่อยาหลายชนิด เป็นผลไม้ที่ควรหลีกเลี่ยงสำหรับผู้ใช้ยาลดเม็ดเลือด ยาป้องกันการแข็งตัวของเลือด ยาลดคลอเรสเตอรอล และยาอื่นๆอีกมาก ยาที่ใช้กับผู้ป่วย MPN มีปฎิกริยาต่อสารนี้อย่างมากคือ interferon ,ruxolitinib , xarelto,plavix ยาลดคลอเรสเตอรอล statins ส่วน hydrea กำลังมีการศึกษาเรื่องนี้อยู่ แต่ที่ผ่านมาไม่พบหลักฐานที่ชี้ชัดว่าสารนี้มีผลต่อ hydrea ลักษณะของผลไม้ที่มีสารนี้มากมีลักษณะคล้ายส้ม ที่มีเปลือกหนา มีรสฝาดเปรี้ยว เช่น…
การศึกษาถึงอัตราการเกิดเลือดอุดตันชนิดที่เกิดเป็นลิ่มเลือด
มีบทความที่น่าสนใจ ตีพิมพ์เมื่อ 7/07/2023 สองวันที่ผ่านมา เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลในอดีตตั้งแต่ปี 2007-2019 จากผู้ป่วย PV 82,960 คน ซึ่งเป็นฐานข้อมูลจำนวนมาก เป็นการศึกษาถึงอัตราการเกิดเลือดอุดตันชนิดที่เกิดเป็นลิ่มเลือดก่อน แล้วเกิดอุดตันในหลอดเลือดของอวัยวะ เรียกว่า Thromboembolism อุบัติการณ์นี้มีชื่อเรียกว่า Thromboembolic events (TE) พบว่า ผู้ใช้เพียง Hydroxyurea(HU) เพียงอย่างเดียวตลอดระยะเวลาการรักษาจำนวน 3,852 คน มีอัตราการเกิด TE ลดลงในช่วงแรก แต่เพิ่มขึ้นในภายหลัง ที่ใช้…
การเจาะเลือดออกเพียงอย่างเดียวสามารถรักษาระดับฮีมาโตคริตตามเป้าหมายได้อย่างเพียงพอในผู้ป่วย PV ที่มีความเสี่ยงต่ำหรือไม่?
ประเด็นการศึกษาทดลอง การเจาะเลือดออก (Phelbotomy) เพียงอย่างเดียวสามารถรักษาระดับฮีมาโตคริตตามเป้าหมายได้อย่างเพียงพอในผู้ป่วยที่มีภาวะโรคเลือดข้น Polycythemia Vera (PV) ที่มีความเสี่ยงต่ำหรือไม่? วิธีการศึกษา ในการทดลองสุ่มแบบ open-label ระยะที่ 2 เราเปรียบเทียบโรเปกอินเตอร์เฟอรอน alfa-2b (ropeg; 100 μg ทุก 2 สัปดาห์) กับการตัดโลหิตออกเฉพาะที่เกี่ยวกับการรักษาระดับมัธยฐานฮีมาโตคริต (≤45%) ในช่วง 12 เดือนที่ไม่มีการดำเนินของโรค ( จุดสิ้นสุดหลัก) ในการติดตามผล อนุญาตให้ข้ามไปยังกลุ่มการรักษาทางเลือกได้หากไม่พบจุดสิ้นสุดหลัก…
การวัดการกลายพันธุ์เชิงปริมาณในการวินิจฉัยโรคและพยากรณ์โรค ในPV
20 เมษายน 2523 บทความนี้ถูกตีพิมพ์ในวารสารทางการแพทย์หลายฉบับ JAK2V617F allele burden in polycythemia vera: burden of proof เนื้อหาเกี่ยวกับการใช้ Jak2 Allele Burden หรือ ในบทความนี้ใช้ชื่อว่า Varient Allele Frequency (VAF) เป็นการวัดปริมาณของยีนกลายพันธุ์เป็นเปอร์เซ็นต์เมื่อเทียบกับยีนปกติ สีเทาคือยีนปกติ สีฟ้าคือยีนที่มีความผิดปกติที่โครโมโซมเดี่ยว heterozygous คือคนที่เป็น ET สีแดงคือยีนผิดปกติในทั้งคู่ของโครโมโซม…
สรุปหัวข้อสำคัญการประชุม MPN Horizons 2022 ตอน 5
สรุปหัวข้อสำคัญการประชุม MPN Horizons 2022 EP 5: หลักการวินิจฉัย โรคพังผืดในไขกระดูก PMF ตามเกณฑ์ของ WHO 2017 เกณฑ์การวินิจฉัย ระยะก่อนมีพังผืด (prePMF) การวินิจฉัยอาศัยเกณฑ์หลัก 3 ข้อ และเกณฑ์รอง 1 ข้อ เกณฑ์หลัก (Major criteria) 1. Megakaryocyte proliferation and atypia โดยไม่พบ…
สรุปหัวข้อสำคัญการประชุม MPN Horizons 2022 ตอน 4
สรุปหัวข้อสำคัญการประชุม MPN Horizons 2022 EP 4: หลักการวินิจฉัย โรคเกล็ดเลือดสูง ET ตามเกณฑ์ของ WHO 2016 มี 4 ข้อกำหนดหลัก และ 1 ข้อกำหนดรอง หากได้ครบ 4 หลัก ไม่จำเป็นต้องตรวจตามข้อกำหนดรอง วินิจฉัยว่าเป็น ET ได้เลย หากมีครบเพียง 3 หลัก ต้องตรงตามข้อกำหนดรอง จึงจะวินิจฉัยเป็น…
สรุปหัวข้อสำคัญของการประชุม MPN Horizons 2022 ตอน 3
สรุปหัวข้อสำคัญของการประชุม MPN Horizons 2022 EP 3: การวินิจฉัยโรคเลือดข้น PV ตามเกณฑ์ ของ WHO 2016 มี 3 ข้อกำหนดหลัก และ 1 ข้อกำหนดรอง ข้อกำหนดหลัก 1) ชาย HB>16.5 g/dl หรือ HCT>49% , หญิง HB>16.0 g/dl หรือ…
สรุปหัวข้อสำคัญของการประชุม MPN Horizons 2022 ตอน 2
สรุปหัวข้อสำคัญของการประชุม MPN Horizons 2022 EP2: อัพเดทกลุ่มยา JAK Inhibitor ยากลุ่ม targeted therapy มุ่งเป้าไปยับยั้งขัดขวางการส่งสัญญาณการทำงานของยีนที่ก่อให้เกิดอาการ จึงไม่ได้ทำหน้าที่รักษาโรคหรือลดการกลายพันธุ์ แต่เป็นการลดขนาดม้าม ลดอาการได้ดี กลุ่มยา JAK inhibitors in 2022 – Ruxolitinib (Jakavi) เป็นยาหลัก – Fedratinib ใช้แทนเมื่อทนต่อผลข้างเคียงไม่ได้ หรือไม่ตอบสนองต่อยาหลัก – Pacritinib…
สรุปหัวขัอสำคัญของการประชุม MPN Horizons 2022 ตอน 1
สรุปหัวขัอสำคัญของการประชุม MPN Horizons 2022 EP1: การพัฒนาและการกลายพันธ์ของโรค MPNs Dr. Martin Ellis พูดถึง การพัฒนาของโรคที่อาจจะเกิดขึ้นได้ คือ โรคเลือดข้น PV และ โรคเกล็ดเลือดสูง ET กลายเป็น โรคพังผืดในไขกระดูก MF และ กลายเป็นโรค มะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเฉียบพลัน AML ผู้ป่วยที่ตรวจการกลายพันธ์ ของยีน Jak2, Calr, MPL…
สรุปการประชุม MPN Horizons 2022- Day 3
สรุปการประชุม MPN Horizons 2022- Day 3 สวัสดีครับเพื่อนๆสมาชิกชมรมผู้ป่วยโรค MPN ประเทศไทย และ ผู้สนใจทั่วทุกท่าน วันที่ 3 ของการประชุม: วันอาทิตย์ที่ 20 พ.ย. 65 – วันสุดท้ายของการประชุม เริ่มต้นด้วย advocacy session ในหัวข้อ From theory to reality โดย Lindsey…
สรุปการประชุม MPN Horizons 2022- Day 2
สวัสดีครับเพื่อนๆสมาชิกชมรมผู้ป่วยโรค MPN ประเทศไทย และ ผู้สนใจทั่วไป ทุกท่านครับ วันที่ 2 ของการประชุม: วันเสาร์ที่ 19 พ.ย. 65 – เริ่มต้นด้วย หัวข้อที่น่าสนใจมากข้อหนึ่งของ medical session คือ Novel Therapies in MPNs เกี่ยวกับ การรักษาวิธีใหม่ๆของโรค MPNs – Dr. Naveen ได้เริ่มนำเสนอให้เห็นภาพรวม…
สรุปการประชุม MPN Horizons 2022- Day 1
สรุปการประชุม MPN Horizons 2022- Day 1 สวัสดีครับเพื่อนๆสมาชิกชมรมผู้ป่วยโรค MPN ประเทศไทย และ ผู้สนใจทั่วไป ทุกท่านครับ เป็นธรรมเนียมปฏิบัติของผมทุกครั้ง ที่มีโอกาสเป็นตัวแทนของชมรมฯเราไปร่วมการประชุมประจำปีนานาชาติที่เรียกว่า MPN Horizons International Conference ซึ่งปีนี้จัดที่ เมือง Netanya ประเทศ Israel 3 วัน ระหว่างวันที่ 18 ถึง 20 พฤจิกายน…
เสวนาออนไลน์ผ่าน FB Live ครั้งที่ 2
สวัสดีครับเพื่อนๆสมาชิกและสาธารณชนทั่วไปทุกท่านครับ ผมขอเป็นตัวแทนของ ชมรมผู้ป่วยโรค MPN ประเทศไทย ขอขอบคุณ คุณศิรินทิพย์ประธานมูลนิธิเครือข่ายมะเร็ง อาจารย์นพดล ประธานชมรมโรค MPN ประเทศไทย (กลุ่มแพทย์) และ อาจารย์ทั้ง 3 ท่านจากโรงเรียนแพทย์ ร.พ. พระมงกุฎฯ, ร.พ.จุฬาฯ , คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, อ. อิศรางค์ จากสภากาชาดไทย รวมทั้ง อ.ตั้มและคุณแอม ตัวแทนผู้ป่วย ที่ร่วมกันทำให้ เสวนาออนไลน์ผ่าน…
นับถอยหลังอีก 4 วัน “รู้ทันมะเร็งโรคเลือดชนิดหายาก MPN ครั้งที่2”
ชมรมผู้ป่วยโรค MPN ประเทศไทย ร่วมกับ มูลนิธิเครือข่ายมะเร็ง (Thai Cancer Society) พันธมิตรหลักของเราได้เชิญ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญโลหิตวิทยา จากชมรมโรค MPN แห่งประเทศไทย(กลุ่มแพทย์)และ ศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ สภากาชาดไทย จัดเสวนาในหัวข้อ “รู้ทันมะเร็งโรคเลือดชนิดหายาก MPN ครั้งที่2” ผ่านทาง FB Live วันเสาร์ที่ 17 กันยายน 2565 เวลา14.00 – 16.00 น.…
8th September – MPN Awareness Day
8th September – MPN Awareness Day สวัสดีครับเพื่อนๆสมาชิกและผู้สนใจทุกท่าน วันนี้ วันพฤหัสบดีที่ 8 กันยายน 2565 ถือเป็นวันที่มีความสำคัญวันหนึ่งครับ โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการให้ความช่วยเหลือสนับสนุน ผู้ป่วยโรคมะเร็งทางโลหิตวิทยา หรือ โรคมะเร็งเลือด ไม่ว่าจะเป็น เครือข่ายองค์กรผู้สนับสนุนช่วยเหลือผู้ป่วย แพทย์ หรือ ผู้ป่วย ทั่วโลก เนื่องจาก วันพฤหัสบดีที่ 2 ของเดือนกันยายน ของทุกปี ถือเป็น วันมะเร็งโรคเลือด…
FDA สหรัฐอเมริกา ให้การรับรองยา Pemigatinib สำหรับ MPN ที่มียีนกลายพันธุ์ FGFR1
Pemigatinib (Pemazyre) เมื่อวันที่ 26/08/2022 เป็น protein kinase inhibitor ที่ยับยั้งกลไกของยีน FGFRs เท่านั้น ไม่ใช่สำหรับยีนกลายพันธุ์หลัก ผู้ป่วย MPN ที่มียีนกลายพันธุ์ FGFR1 นี้ จัดอยู่ในกลุ่ม triple negative ซึ่งมักมีอาการรุนแรงและไม่ตอบสนองต่อยาหลักเช่น jak inhibitors Dr. Verstovsek พูดว่าการรับรองยานี้ สำหรับ MPN เป็น earth…
“รู้ทันมะเร็งโรคเลือดชนิดหายาก MPN ครั้งที่2”-17 กันยายน 2565
มะเร็งโรคเลือด MPN คืออะไร การปฏิบัติตัวสำหรับผู้ป่วย MPNในช่วงแพร่ระบาดโควิด19 ทำไมผู้ป่วยมะเร็งต้องการเลือดและสเต็มเซลล์ในการรักษา เตรียมตัวอย่างไรเพื่อบริจาคเลือดให้ผู้ป่วย พบปะพูดคุยกับผู้ป่วยและถามคำถามกับแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ ชมรมผู้ป่วยโรค MPN ประเทศไทย ร่วมกับ มูลนิธิเครือข่ายมะเร็ง (Thai Cancer Society) พันธมิตรหลักของเราได้เชิญ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญโลหิตวิทยา จากชมรมโรค MPN แห่งประเทศไทย(กลุ่มแพทย์)และ ศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ สภากาชาดไทย จัดเสวนาในหัวข้อ “รู้ทันมะเร็งโรคเลือดชนิดหายาก MPN ครั้งที่2” ผ่านทาง FB Live…
ผู้ป่วยโรคเกล็ดเลือดสูง ETที่มีเกล็ดเลือดสูงมาก พบในคนอายุน้อยมากกว่าคนสูงอายุ
เป็นบทความที่ผู้ป่วยโรคเกล็ดเลือดสูง ETที่มีเกล็ดเลือดสูงมาก พบในคนอายุน้อยมากกว่าคนสูงอายุ เกี่ยวข้องกับยีน CALR มากกว่า ยีน Jak2 Next-generation sequencing (NGS) was conducted in 244 patients taken from the total cohort. A higher prevalence of gene mutations was observed among…
MPN Family Talk: 1st EP Sat.13 Aug 22
MPN Family Talk: 1st EP Sat.13 Aug 22 ผมดีใจมากที่ความตั้งใจของผมได้เริ่มนับหนึ่งแล้ว การพูดคุยพบปะกันทาง Line Meeting แบบสบายๆเป็นกันเองแบบครอบครัวเดียวกัน ได้ฟังการแลกเปลี่ยนข้อมูลกันของเพื่อนๆสมาชิกครบทั้ง 3 ชนิดของโรค MPNs เลย คือ PV ET และ MF พวกเราคุยกันประมาณ 1 ชม.เศษ ส่วนตัวผมถือว่า เป็นครั้งแรกที่ประสบความสำเร็จมาก และทำให้มีกำลังใจที่จะจัดการพูดคุยแบบนี้ ในครั้งต่อๆไป…
EHA 2022 Hybrid Congress : June 9-17 EP3
EHA 2022 Hybrid Congress : June 9-17 EP3: สรุปประเด็นสำคัญ Myeloproliferative Neoplasms (MPNs) ตอนที่3 สวัสดีครับเพื่อนๆสมาชิกชมรมผู้ป่วยโรค MPN และผู้สนใจทั่วไป ทุกท่าน ในตอนที่ 1และ 2 ผมได้นำเอาข้อมูลเกี่ยวกับ ยายับยั้ง JAK Inhibitors และ การรักษาผู้ป่วยโรคพังผืดในไขกระดูก MF ที่มีความจำเป็นต้องทำ การปลูกถ่ายไขกระดูก หรือ…
EHA 2022 Hybrid Congress : June 9-17 EP2
EHA 2022 Hybrid Congress : June 9-17 EP2: สรุปประเด็นสำคัญ Myeloproliferative Neoplasms (MPNs) ตอนที่2 สวัสดีครับเพื่อนๆสมาชิกชมรมผู้ป่วยโรค MPN และผู้สนใจทั่วไป ทุกท่าน ในตอนที่ 1 ผมได้นำเอาข้อมูลเกี่ยวกับ ความแตกต่างของยายับยั้ง JAK Inhibitors ตัวใหม่ๆเมื่อเปรียบเทียบกับ ยา Ruxolitinib ที่ใช้รักษาผู้ป่วยโรคพังผืดในไขกระดูก MF ส่วนในตอนที่ 2…
EHA 2022 Hybrid Congress : June 9-17 EP1
EHA 2022 Hybrid Congress : June 9-17 EP1: สรุปประเด็นสำคัญ Myeloproliferative Neoplasms (MPNs) สวัสดีครับเพื่อนๆสมาชิกชมรมผู้ป่วยโรค MPN และผู้สนใจทั่วไป ทุกท่าน ผมขอนำเอาข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องยายับยั้ง JAK Inhibitors ซึ่งผมเห็นว่าน่าสนใจจึงนำมาเขียนเป็นตอนแรก ดังนี้ครับ ความแตกต่างของยายับยั้ง JAK Inhibitors ตัวใหม่ๆเมื่อเปรียบเทียบกับ ยา Ruxolitinib ที่ใช้รักษาผู้ป่วยโรคพังผืดในไขกระดูก MF –…
สรุปผลการศึกษาผู้ป่วยโรค MPNs ของประเทศไทย
สรุปผลการศึกษาผู้ป่วยโรค MPNs ของประเทศไทย Background โฟกัสที่ผู้ป่วยโรค MPNs ประกอบด้วย โรคเลือดข้น PV โรคเกล็ดเลือดสูง ET และ โรงพังผืดในไขกระดูก MF ซึ่งข้อมูลจาก Seirra Oncology เกี่ยวกับภาวะแทรกซ้อนของการอุดตันในหลอดเลือด ของผู้ป่วยที่พึ่งได้รับการวินิจฉัยใหม่ๆ พบว่า โดยรวม 20% มีการอุดตันในหลอดเลือดแดง (Arterial thrombosis)16.2% มีการอุดตันในหลอดเลือดดำ (Venous thrombosis) 6.2%…
เกณฑ์วินิจฉัยโรคเลือดข้น PV ของ WHO2016
การวินิจฉัยโรคเลือดข้น PV ค่อนข้างซับซ้อนกว่าโรคอื่นในกลุ่ม MPN ผู้ป่วย PV ควรย้อนกลับไปดูผลตรวจของตัวเองว่ามีครบตามเกณฑ์ ของ WHO 2016 หรือไม่ จะได้ไม่กินยาผิดโรค มี 3 ข้อเกณฑ์หลัก และ 1 ข้อเกณฑ์รอง เกณฑ์หลัก 1) ชาย HB>16.5 g/dl หรือ HCT>49% , หญิง HB>16.0 g/dl หรือ…
หลักการวินิจฉัยโรคเกล็ดเลือดสูง ET ของ WHO 2016
หลักการวินิจฉัยโรคเกล็ดเลือดสูง ET ของ WHO 2016 มี 4 ข้อกำหนดหลัก และ 1 ข้อกำหนดรอง หากได้ครบ 4 หลัก ไม่จำเป็นต้องตรวจตามข้อกำหนดรอง วินิจฉัยว่าเป็น ET ได้เลย หากมีครบเพียง 3 หลัก ต้องตรงตามข้อกำหนดรอง จึงจะวินิจฉัยเป็น ET ได้ (3+1) ข้อกำหนดหลัก 1 ) เกล็ดเลือด…
MPN Horizons Virtual Conference 2021: ตอนที่ 10
MPN Horizons Virtual Conference 2021 สรุปประเด็นสำคัญ ตอนที่ 10 JAK Inhibitor Landscape 2021 Speaker ได้นำเสนอ ภาพรวมภูมิทัศน์ของยาที่ใช้ยับยั้งการกลายพันธ์ของยีนกลุ่ม Janus Kinase (JAK) ของปีนี้ ดังนี้ครับ 1 ยาที่ได้รับการอนุมัติแล้ว(approved) – Ruxolitinib : ยายี่ห้อ JAKAFI สำหรับใช้เป็นยาตัวแรก (First Line)…