Category: บทความวิชาการ Thai

Thai MPN Guidelines 2017- วิธีการวินิจฉัยและการรักษาโรค MPNs

http://www.rcpt.org/conference/…/media/media_present/053.pdf ข้อมูลที่ผมเห็นว่ามีประโยชน์มากๆครับ สำหรับเพื่อนๆสมาชิกของชมรมฯเรา มีครบทั้งวิธีการวินิจฉัยและการรักษาโรค MPNs ทั้ง 3 โรค คือ PV, ET และ MF (PMF) เป็นข้อมูลอัพเดทหลัง WHO เปลี่ยนแปลงแก้ไขเกณฑ์กำหนด ผมอยากให้เพื่อนๆสมาชิกทั้ง ตัวผู้ป่วยและญาติที่ดูแลผู้ป่วย ควรอ่านกันครับ เซพ pdf file ข้างบนไว้เลยนะครับ #mpn #โรคเลือดข้น Cr: รศ. นพ. ต้นตนัย…

ข้อมูลโรค MPN ของ ศ.พญ. พวงทอง ไกรพิบูลย์

โรคมัยอีโลโพรลิฟเฟอเรทีฟ (Myeloproliferative disease) ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง พวงทอง ไกรพิบูลย์ วว.รังสีรักษา และเวชศาสตร์นิวเคลียร์ โรคมัยอีโลโพรลิฟเฟอเรทีฟ (Myeloproliferative disease ย่อว่า MPD) หรืออีกชื่อคือ “Myeloproliferative disorder ย่อว่า MPD เช่นกัน” แต่ปัจจุบันองค์การอนามัยโรคได้ใช้ชื่อโรคนี้ว่า “Myeloproliferative neoplasm ย่อว่า MPN” เป็นกลุ่มโรคต่างๆที่เกิดจากมีการผิดปกติในการแบ่งตัวเพิ่มจำนวนมากเกินไปของเซลล์ชนิดต่างๆของไขกระดูก โรคต่างๆที่จัดอยู่ในกลุ่มโรค MPD ได้แก่ •…

ข้อมูลโรค MPN จาก คอลัมน์ รู้ทันโลก ประชาชาติธุรกิจ

คอลัมน์ รู้ทันโรค: ‘เม็ดเลือดสูง’มฤตยูเงียบที่ต้องระวัง ประชาชาติธุรกิจ ฉบับวันที่ 3-5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557 หน้า 6 เคยได้ยินแต่ความดันโลหิตสูง เชื่อว่าผู้อ่านก็เช่นกัน น้อยคนที่จะรู้จักหรือคุ้นหูโรค “เม็ดเลือดสูง” จริงๆ แล้วโรคเลือดนับเป็นปัญหาสุขภาพที่ถือเป็นภัยเงียบ เพราะมักจะเกิดเอฟเฟ็กต์โดยที่เราไม่รู้ตัว บางโรค เกิดจากพันธุกรรม และบางโรคก็เกิดจากการทำงานของอวัยวะในร่างกายที่ผิดปกติ ที่สำคัญเช่น โรคโลหิตจาง มะเร็งต่อมน้ำเหลือง โรคฮีโมฟิเลีย โรคธาลัสซีเมีย และโรคลิวคีเมีย หรือมะเร็งเม็ดเลือดขาว เป็นต้น แล้วโรคเม็ดเลือดสูง…

ข้อมูลเกี่ยวกับโรค MPN ของ ผศ. นพ.เอกรัฐ รัฐฤทธิ์ธำรง

ผศ.นพ.เอกรัฐ รัฐฤทธิ์ธำรง หน่วยโลหิตวิทยา ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โรคเลือดข้น(polycythemia vera หรือ PV)และโรคเกล็ดเลือดสูง (essential thrombocythemia หรือ ET) เป็นโรคมะเร็งชนิดหนึ่งในกลุ่มโรคเม็ดเลือดสูง (myeloproliferative neoplasm หรือ MPN) ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของไขกระดูก ทำให้ผลิตเม็ดเลือดเพิ่มขึ้นโดยขาดการควบคุม ระบาดวิทยา ภาวะนี้พบได้ไม่บ่อยโดยพบโรคเลือดข้นและโรคเกล็ดเลือดสูงประมาณ 1-3คนต่อประชากร 100,000 คนต่อปี เป็นโรคที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ 50-70ปี สาเหตุของโรค ภาวะนี้เกิดจากความผิดปกติของกลไกที่ควบคุมการสร้างเม็ดเลือด…