25thEHA Virtual Congress Take-home message – Episode 1
สรุปประเด็น ตอนที่ 1 • H.Erba: การบรรลุผลของการตอบสนองทางโมเลกุลเป็นสิ่งสำคัญในการรักษาโรค CML เพราะว่ามีความสัมพันธ์กับการอยู่รอดโดยรวมและโอกาสที่จะลุกลามไปที่ระยะเสี่ยงที่สูงขึ้น ความต่อเนื่องในการรักษา (Adherence) เป็นปัจจัยสำคัญต่อการบรรลุผลการตอบสนองทางโมเลกุลที่สำคัญ (MMR) ของผู้ป่วยโรค CML ระยะเรื้อรัง ในการรักษาด้วยยากลุ่ม TKIs • T.Hughes: Asciminib ยาตัวใหม่ที่อยู่ระหว่างการทดลองนี้ มีพลังชะงัด มีความเป็นพิษต่ำ และ ต่อต้าน การกลายพันธ์ได้มากที่สุด และ การใช้ร่วมกันของยา asciminib กับ…
25th EHA Virtual Congress
สวัสดีครับ เพื่อนๆสมาชิกทุกท่านครับ ผมในฐานะผู้ป่วยโรค CML คนหนึ่ง และ ยังเป็นคณะทำงานจิตอาสาของทั้ง 2 ชมรมฯ ขอแจ้งให้ทราบว่า ในช่วงนี้กำลังมีงานประชุมวิชาการครั้งที่ 25 ของสมาคมโลหิตวิทยาแห่งสหภาพยุโรป (EHA) ซึ่งครั้งนี้เป็นครั้งแรกที่เป็นรูปแบบ Virtual Meeting หรือการประชุมทางไกลที่ไม่จำเป็นต้องเดินทางไป เพียงแค่ ลงทะเบียน และ รอรับ access code เพื่อ log in เข้าร่วมประชุมได้เลย และนี่เป็นครั้งแรก ที่ผมได้ร่วมลงทะเบียนเข้าร่วมประชุมด้วยครับ…
การจำแนกกลุ่มMPNs ใหม่
New classifications of MPN การจำแนกกลุ่มMPNs ใหม่ มหาวิทยาลัยเคมริดจ์มีห้องปฎิบัติการที่เป็นศูนย์กลางในการวิจัยเพื่อแบ่งกลุ่มโรค MPNs โปรเฟสเซอร์ Tony Green กำลังแบ่งกลุ่มใหม่โดยใช้กลไกของการกลายพันธ์ุแทนที่ใช้อยู่ปัจจุบันซึ่งแบ่งกลุ่มตามลักษณะของผู้ป่วย คือ PV/ET/MF ในความเป็นจริงมีหลายสาเหตุที่ก่อให้เกิดภาวะเลือดข้นหรือเกล็ดเลือดสูงแต่เรายังไม่เข้าใจกลไกของการเกิดโรคเหล่านั้น การจำแนกโรคแบบใหม่จะช่วยให้การทดลองยาทำได้ง่ายขึ้น การศึกษาทำในผู้ป่วย 2000 คนที่มีการกลายพันธุ์แตกต่างกัน โดยยึดหลักการจำแนกประเภทตามจีโนม สามารถ แบ่งออกได้เป็น 8 กลุ่มจีโนม การแบ่งกลุ่มแบบใหม่ ผู้ป่วยจะต้องได้รับการตรวจ polygenic test คือการตรวจยีนพร้อมกันหลายตัว ผลที่ได้ต้องนำมารวมกับข้อมูลของคนไข้…
Thai MPN Guidelines 2017- วิธีการวินิจฉัยและการรักษาโรค MPNs
http://www.rcpt.org/conference/…/media/media_present/053.pdf ข้อมูลที่ผมเห็นว่ามีประโยชน์มากๆครับ สำหรับเพื่อนๆสมาชิกของชมรมฯเรา มีครบทั้งวิธีการวินิจฉัยและการรักษาโรค MPNs ทั้ง 3 โรค คือ PV, ET และ MF (PMF) เป็นข้อมูลอัพเดทหลัง WHO เปลี่ยนแปลงแก้ไขเกณฑ์กำหนด ผมอยากให้เพื่อนๆสมาชิกทั้ง ตัวผู้ป่วยและญาติที่ดูแลผู้ป่วย ควรอ่านกันครับ เซพ pdf file ข้างบนไว้เลยนะครับ #mpn #โรคเลือดข้น Cr: รศ. นพ. ต้นตนัย…
คุณประโยชน์ที่ “อาจจะเป็นไปได้” ว่า NAC สามารถลด inflammation( การอักเสบ)
PV Reporter first reported about the potential benefits of NAC in MPN and an April 6th update on the coronavirus – https://www.pvreporter.com/nac-n-acetylcysteine-supplement…/ N-acetylcysteine (NAC) ซึ่งเป็นยาที่มีขายอยู่แล้ว บางคนกินกันเป็นอาหารเสริม เพื่อต้านออกซิเดชั่น บทความนี้กล่าวถึงการทดลอง NAC ในสัตว์ทดลองที่ถูกดัดแปลงให้มียีน…
คำถามที่ควรถามแพทย์เมื่อผู้ป่วย PV มีนัด
การเตรียมรายการคำถามที่เหมาะสมสามารถช่วยคุณได้เมื่อไปพบแพทย์ และทำให้รู้ว่าเราควรคาดหวังกับวิธีการรักษาอย่างไรเมื่อมีอาการที่เกิดจากPV รายการคำถาม และอาการของ PVที่พบทั่วไป คำถาม 1__บ่อยแค่ไหนที่ต้องตรวจ CBC และพบแพทย์ 2__ ต้องการควบคุมให้ความเข้มข้นของเม็ดเลือดแดง (HCT), ปริมาณฮีโมโกลบิน (HGB), เม็ดเลือดขาว (WBC) และเกล็ดเลือด (platelets) อยู่ในระดับใด 3__เคยรักษาผู้ป่วย PV มาก่อนด้วยวิธีอื่นๆ นอกเหนือจากการเจาะเลือดออก (phlebotomies) ให้ยาแอสไพริน หรือ hydroxyurea หรือไม่ 4__สามารถให้ใช้ pegasys,…
ผู้ป่วยโรค MPN มีความเสี่ยงสูงต่อการติดเชื้อ COVID-19 ใช่หรือไม่?
Are MPN patients at high risk for COVID-19? ผู้ป่วยโรค MPN มีความเสี่ยงสูงต่อการติดเชื้อ COVID-19 ใช่หรือไม่? จนถึงวันนี้ ยังมีข้อมูลน้อยเกินไปเกี่ยวกับตัวผู้ป่วยโรค MPN ที่ติดเชื้อ COVID-19 เป็นเพียงความรู้สึกถึงความน่าจะเป็นได้ว่า ผู้ป่วยโรค MPN ที่มีความเสี่ยงระดับ กลางขั้น 2 หรือ ผู้ป่วยโรค พังผืดในไขกระดูก MF ที่มีความเสี่ยงสูง หรือ…
In patients who have developed the COVID-19 infections, should their MPN therapy be adjusted or stopped?
In patients who have developed the COVID-19 infections, should their MPN therapy be adjusted or stopped? สำหรับผู้ป่วยโรค MPN ที่ติดเชื้อ COVID-19 การรักษาควรมีการปรับเปลี่ยน หรือ หยุดการรักษาหรือไม่? คำตอบคือ ไม่ ยกเว้น ถ้าเกิดปฏิกิริยาระหว่างยาที่เกิดจากการใช้ยาร่วมกับ ยา หรือ อาหาร…
สรุปหัวข้อการประชุม MPN Horizons 2019 ตอนที่ 10
สวัสดีครับเพื่อนๆสมาชิกชมรมฯทุกท่าน ในตอนที่ 10 นี้ ผมขอเล่าถึง หัวข้อทางด้าน medical session ที่ทาง Speaker ได้นำเสนอเกี่ยวกับ State of play across the globe: No standard guidelines for MPN ซึ่งผมขอเริ่มต้นด้วยการพูดถึงข้อดี ข้อเสีย ของ การมีหลักเกณฑ์หรือแนวทางในการรักษา ดังนี้ครับ ข้อเสีย – อาจจะไม่ทันสมัยแล้ว…
สรุปหัวข้อการประชุม MPN Horizons 2019 ตอนที่ 9
สวัสดีครับเพื่อนๆสมาชิกชมรมฯทุกท่าน ในตอนที่ 9 นี้ ผมขอเล่าถึง หัวข้อทางด้าน medical session ที่ทาง Speaker ได้นำเสนอเกี่ยวกับ Pipeline of Treatment options for MPN คือ มียาใหม่หลายตัว อยู่ในระหว่างการทดลองทางคลินิก ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ป่วยโรค MPN ซึ่งผมได้มีการพูดไว้ในตอนที่ 4 แต่ไม่ได้เน้นมากนัก ผมขอขยายความเพิ่มเติมอีกสักหน่อยดังนี้ครับ นอกจากการรักษา ด้วยยา ตัวใดตัวหนึ่ง แล้ว…
สรุปหัวข้อการประชุม MPN Horizons 2019 ตอนที่ 8
สวัสดีครับเพื่อนๆสมาชิกชมรมฯทุกท่าน ในตอนที่ 8 นี้ ผมขอเล่าถึง หัวข้อทางด้าน medical session ที่ทาง Speaker ได้นำเสนอเกี่ยวกับ Quality of Life, Patient Reported Outcomes ซึ่งผมได้มีการพูดถึงความหมายของคำว่า Patient Report Outcomes หรือ เรียกย่อๆว่า PROs ไว้แล้วในตอนที่ 4 แต่ไม่ได้เน้นมากนัก ผมขอขยายความเพิ่มเติมอีกสักหน่อยดังนี้ครับ การประเมินคุณภาพของการรักษา ประกอบด้วยการประเมินทางโครงสร้าง…
สรุปหัวข้อการประชุม MPN Horizons 2019 ตอนที่ 7
สวัสดีครับเพื่อนๆสมาชิกชมรมฯทุกท่าน ในตอนที่ 7 นี้ ผมขอเล่าถึง หัวข้อทางด้าน medical session ที่ทาง Speaker ได้นำเสนอ ที่พูดถึง Tools to reduce anxiety and increase quality of life ซึ่งเริ่มต้นด้วยการพูดภาพรวมของ การรับประทานอาหารในผู้ป่วยมะเร็ง: ก่อน, ระหว่าง และหลังการรักษาอาหารเป็นหนึ่งองค์ประกอบสำคัญในขั้นตอนการรักษา การรับประทานอาหารที่ถูกต้อง ช่วงก่อน, ระหว่าง และหลังการรักษาจะช่วยให้ผู้ป่วยรู้สึกดี…
สรุปหัวข้อการประชุม MPN Horizons 2019 ตอนที่ 6
สวัสดีครับเพื่อนๆสมาชิกชมรมทุกท่าน ในตอนที่ 6 นี้ ผมขอนำเอาข้อมูล ที่ทาง Speaker ได้นำเสนอใน medical session ในหัวข้อเรื่อง Progression to MF หรือ การพัฒนาของโรคที่เป็นอยู่ไปเป็นโรค พังผืดในไขกระดูก MF ซึ่งทาง Speaker ได้นำเสนอไว้ดังนี้ ครับ การพัฒนาของโรคของผู้ป่วยโรคเลือดข้น PV ไปเป็น โรคพังผืดในไขกระดูก Post-PV Myelofibrosis -พบอัตราการพัฒนาของโรค ประมาณ…
สรุปหัวข้อการประชุม MPN Horizons 2019 ตอนที่ 5
สวัสดีครับเพื่อนๆสมาชิกชมรมทุกท่าน ในตอนที่ 5 นี้ ผมขอนำเอาข้อมูล ที่ทาง Speaker ได้นำเสนอใน medical session ในหัวข้อ MPN 301 ในเรื่อง การกลายพันธ์ของยีนอื่นๆที่สำคัญกับโรค MPN ทั้ง 3 โรค นอกเหนือไปจาก การกลายพันธ์ของยีนที่พบมากที่สุด 3 ตัวที่ผมได้พูดถึงไปแล้วในตอนที่ 2 และ 3 ที่เรียกว่าเป็น 3-driver mutations คือ…
ยา Pegylated Interferon ให้ผลการตอบสนอง undetectable
สวัสดีเพื่อนๆสมาชิกชมรมฯและผู้สนใจทุกท่านครับ การรักษาด้วย Pegylated IFN ในผู้ป่วย ET และ PV ให้ผลการตอบสนองที่ดีในระดับโมเลกุลที่สำคัญด้วยการลดระดับการกลายพันธ์ของยีน JAK2V617F ได้ถึง ระดับที่ตรวจไม่พบแล้ว undetected ในกลุ่มผู้ป่วยที่ทำการทดลอง..อ่านข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ เว็บไซท์ตามภาพที่ผมได้ captured มาให้นะครับ #mpn
ยา Navitoclax อาจเป็นยาอนาคตของผู้ป่วยที่มี CALR Type 1
สวัสดีครับเพื่อนๆสมาชิกชมรมฯและผู้สนใจทุกท่านครับ วันนี้ผมขอนำเอาข้อมูลที่น่าสนใจชิ้นหนึ่ง จาก เว็บไซท์ของ Patientpower ตามภาพที่ได้ captured มาด้วย ซึ่งผมขอสรุปสาระสำคัญดังนี้ครับ ผู้ป่วยโรค MPNs ที่มีการกลายพันธ์ของยีน CALR Type 1 มีโอกาสพัฒนาของโรคไปเป็น โรคพังผืดในไขกระดูกMF และ มะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิด AML ได้น้อยกว่า ผู้ป่วยที่มีการกลายพันธ์ของยีน JAK2 แต่การรักษายากกว่าเพราะไม่ค่อยตอบสนองกับ ยาในกลุ่ม JAK2 inhibitors เช่น Ruxolitinib แต่มีการศึกษาถึงทางเลือกในอนาคตอาจจะเป็นยา…
การรักษาผู้ป่วย PV ด้วยยา Simvastatin และ Alendronate
สวัสดีวันจ่ายวันนี้ก่อนวันไหว้ตรุษจีนพรุ่งนี้ มายังเพื่อนๆสมาชิกชมรมทุกท่านครับ วันนี้ผมได้เห็นข้อมูลชิ้นหนึ่งจากเว็บไซท์ตามภาพที่ผมได้ captured มาด้วยนี้ พูดถึงยา 2 ตัว คือ Simvastatin และ Alendronate ที่มีการรายงานว่า ผู้ป่วยชายสูงวัย ที่เป็น โรคเลือดข้น PV ระหว่างติดตามการรักษาด้วยการใช้ยาทั้ง 2 ตัวนี้ร่วมกัน เป็นเวลา 56 เดือน มีผลการตอบสนองที่น่าทึ่ง (Remarkable)ทั้งทางโลหิตวิทยาและทางอณู คือในระดับโมเลกุล และสามารถลดระดับการกลายพันธ์ของยีน JAK2-V617F Allele Burden…
โปสเตอร์ชมรมฯรุ่น 2
สวัสดีครับเพื่อนสมาชิกชมรมฯทุกท่าน ก่อนอื่น ผมต้องขอโพสกล่าวขอบคุณเพื่อนสมาชิกของชมรมฯเราท่านหนึ่ง คือคุณเก่ง ที่ได้จัดพิมพ์โปสเตอร์ชมรมรุ่น 2 และยังมีใจกุศลช่วยออกค่าพิมพ์ให้กับทางชมรมเราด้วย ขอบคุณมากๆอีกครั้งครับ โปสเตอร์ชมรมรุ่น 2 นี้ ได้ปรับใหม่โดยเน้นที่ ชื่อ โรคของ MPN ทั้ง 3 โรค คือ โรคเลือดข้น PV , โรคเกล็ดเลือดสูง ET และ โรคพังผืดในไขกระดูก MF ให้ชัดเจนมากขึ้น เข้าถึงผู้ป่วยโรค MPN…
สรุปหัวข้อการประชุม MPN Horizons 2019 ตอนที่ 4
สวัสดีครับเพื่อนๆสมาชิกชมรมฯทุกท่าน ผมกำลังรอ ทาง MPN Advocates Network เอาข้อมูลรายละเอียดของ Speaker ทุกท่าน ที่ได้นำเสนอในที่ประชุม ทั้งในรูปแบบ Slide และ Video มาลงใน เว็บไซต์ของเขา ถ้าเอามาลงแล้ว ผมจะรีบ เอาข้อมูลที่เห็นว่า สำคัญกับผู้ป่วยมาสรุปประเด็นสำคัญๆให้นะครับ แต่ในระหว่างรออยู่นี้ ผม ขอเอาข้อมูลบางประเด็นที่เห็นว่าน่าสนใจมาเล่าให้พวกเราอ่านกันไปก่อนนะครับ – มีการกังวลเกี่ยวกับ การกลัวการกลับมาของโรค และ การพัฒนาของโรค ซึ่ง การเป็นโรคมะเร็ง…
Non Mutated JAK2, MPL and CALR
MPN Thai Talk Non Mutated JAK2, MPL and CALR หากไปอ่านใน study อื่น อาจใช้คำว่า Triple negative MPNs ครับ คือชนิดเดียวกัน หมายความว่าเป็น MPNs แบบไม่ใช่ Mutation หลัก 3 ตัวที่กล่าวถึง ซึ่งมีน้อยมาก ปัจจุบันมีการหายีนกลายพันธ์ุใหม่ๆที่แฝงอยู่ที่เรายังค้นไม่พบครับ การวิจัยแนวใหม่ๆนอกจากค้นคว้ายาที่ควบคุมอาการ ยังมุ่งเน้นไปที่การแก้ไขที่ยีน คำจำกัดความของ…
ASH 2019 Highlights
MPN Thai Talk The American Society of Hematology (ASH) จัดประชุมเป็นประจำทุกปี โดยมี MPNRF (MPN Research foundation) ซึ่งเป็นองค์กรที่สนับสนุน MPN Advocates Network เข้าร่วมทุกครั้ง ชมรมของเราก็เป็นสมาชิกอยู่ใน MPN Advocates Network ด้วย MPNRF มีความมุ่งมั่นที่จะรับรู้ถึงงานวิจัยใหม่ๆ สร้างรวามสัมพันธ์กับแพทย์ทั่วโลก เพื่อหาสาเหตุของการเกิด,การดำเนินไปของโรคและการรักษา http://www.mpnresearchfoundation.org/ASH19…
ยากลุ่ม Interferon กับโรค MPN
ยาในกลุ่มInterferon มีใช้กันมานานกับโรคไวรัสตับอีกเสบชนิด C แบบเรื้อรัง มันคือโปรตีนชนิดหนึ่งที่ร่างกายสร้างได้เอง มีหน้าที่กระตุ้นภูมิคุ้มกันร่างกายให้ต่อสู้กับเชื้อไวรัส สมัยก่อนตอนยังไม่มี pegasys ยาที่ใช้คือ Intron A คือ interferon Alfa 2b และ Roferon คือ interferon Alfa 2 aใช้ฉีดแบบ sub q หรือ subcutenous คือฉีดเข้าใต้ชั้นผิวหนังไม่ให้โดนเส้นเลือด (เหมือนการฉีดอินซูลิน) นอกจากใช้กับผู้ป่วยไวรัสตับ มีการทดลองใช้กับผู้ป่วยลูคีเมีย…
พูดประชาสัมพันธ์ชมรมฯและให้ความรู้กับผู้ป่วยโรคเลือด
สวัสดีเพื่อนสมาชิกทุกท่านครับ เช้านี้ เป็นอีกครั้งหนึ่งที่ผมได้เดินทางไป พูดประชาสัมพันธ์ ชมรมฯ และ ให้ความรู้เบื้องต้นของโรค MPN ทั้ง 3 ชนิด กับ ผู้ป่วยโรคเลือดและญาติผู้ป่วยที่มาใช้บริการที่คลีนิกโลหิตวิทยา ร.พ. ราชวิถี และได้เชิญชวนให้ผู้ป่วยที่เป็น โรค MPN มาร่วมเป็นครอบครัวเดียวกัน โดยแนะนำให้ สแกน QR code ของชมรม ที่โปสเตอร์ชมรมฯที่ได้ติดไว้ที่ประตูทางเข้าห้องตรวจ มีผู้ป่วยหลายท่าน บอกผมว่า เป็นกิจกรรมที่ดีมากๆ บางคนบอกว่า อยากเจอ…
เชิญชวนผู้ป่วยโรค MPN และญาติมาสแกน QR code
ขอเชิญชวนผู้ป่วยและญาติผู้ป่วยโรค MPN ทั้ง 3 โรค คือ โรคเลือดข้น PV, โรคเกล็ดเลือดสูง ET และ โรคพังผืดในไขกระดูก MF มาร่วมเป็นครอบครัวเดียวกันกับ ชมรมผู้ป่วยโรค MPN ประเทศไทย มารับความรู้เกี่บวกับโรคที่ถูกต้อง ทันสมัย มาสอบถามปรึกษากับเพื่อนๆสมาชิกที่มีความรู้ มีประสบการณ์ พร้อมช่วยเหลือแนะนำซึ่งกันและกัน เพียงสแกน QR code ไลน์นี้เข้าห้องชมรมฯของเรากันเลยนะครับ #mpn #mpnthailand
ลุยประชาสัมพันธ์โปสเตอร์ชมรมตามภูมิภาค เริ่มที่ ภาคอีสาน
สวัสดีครับเพื่อนสมาชิกทุกท่าน วันนี้ผมเริ่มลุยการทำกิจกรรมของชมรมฯเพื่อประชาสัมพันธ์ชมรมผู้ป่วยโรค MPN ประเทศไทย ขยายไปตามภูมิภาคต่างๆของประเทศโดยเริ่มต้นที่ จังหวัด อุดรธานี ซึ่งเป็นหนึ่งในจังหวัดทางภาคอีสานที่ใหญ่และรองรับผู้ป่วยจากจังหวัดใกล้เคียงเช่น หนองคาย สกลนคร เป็นต้น ผมได้มาพบ อ.พญ.ศรัญญา ห้วหน้าฉพาะทางโรคเลือด ที ร.พ. อุดรธานี เพื่อแนะนำตัวและฝากให้คุณหมอช่วย ติดโปสเตอร์ของชมรมฯ และคุณหมอได้เชิญให้ผมมาร่วมงานประชุมประจำปีของ ร.พ.วันที่ 17 ม.ค. 63 เพื่อพูดให้ความรู้เกี่ยวกับโรค MPN ในวันงานประชุมด้วย ผมต้องขอขอบคุณ อ.พญ. ศรัญญา…
ประชาสัมพันธ์โปสเตอร์ที่ ร.พ. รามาธิบดี
งานจิตอาสา…ทำต่อเนื่อง สวัสดีครับเพื่อนๆสมาชิกทุกท่านครับ วันนี้ผมได้เดินทางมาติดต่อที่ แผนกโลหิตวิทยา ร.พ. รามาธิบดี เพื่อขอพบ อาจารย์ พิมพ์ใจ หัวหน้าหน่วยโลหิตวิทยา เนื่องจากทางเจ้าหน้าที่แนะนำว่าให้มาดักรอพบดีกว่า..โชคดีได้พบ และ ได้แนะนำตัว ได้ให้ข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับ ชมรมฯของเราและ ได้ฝากโปสเตอร์ของชมรม เพื่อติดประชาสัมพันธ์ที่แผนกโลหิตวิทยาหรือที่ๆทาง อาจารย์เห็นว่าเหมาะสมต่อไปครับ และได้ฝาก อ.พิมพ์ใจไว้ถึง กิจกรรมการให้ความรู้เบื้องต้นของโรค MPNs กับผู้ป่วยโรคเลือดและประชาชนทั่วไป ซึ่งอาจารย์จะนำไปพิจารณาให้ด้วยครับ #mpn #mpnthailand
ประชาสัมพันธ์ การดำเนินงานกิจกรรมของชมรมในช่วงปีแรก
สวัสดีครับ ผมในฐานะ ผู้ก่อตั้ง ชมรมผู้ป่วยมะเร็งโรค MPN ประเทศไทย ขอประชาสัมพันธ์ การดำเนินงานกิจกรรมต่างๆของชมรมฯในช่วงปีแรก ที่ได้ดำเนินการแล้ว และที่กำลังดำเนินการอยู่ให้กับทุกท่านได้รับทราบนะครับ ก่อนอื่นผมต้องขอใช้โอกาสนี้อีกครั้งขอขอบพระคุณอาจารย์นพดล รพ. ศิริราช อาจารย์อุดมศักดิ์ รพ. จุฬาลงกรณ์ อาจารย์ธวัชชัย รพ. ราชวิถี และ อาจารย์อภิชัย รพ.พระมงกุฎเกล้า เป็นอย่างสูง ที่ช่วยให้คำปรึกษาและสนับสนุนผมในความตั้งใจจริงของผม กิจกรรมของชมรมผู้ป่วยโรค MPN ประเทศไทย ที่ได้ดำเนินการไปแล้วในปีแรก 2018 –…
สรุปหัวข้อการประชุม MPN Horizons 2019 ตอนที่ 3
ผมขอสรุป ภาพรวมเกี่ยวกับ โรค MPN ทั้ง 3 โรค คือ โรคเม็ดเลือดแดงสูง PV โรคเกล็ดเลือดสูง ET และ โรคพังผืดในไขกระดูก MF ด้วย ภาพประกอบที่ทาง Dr. Martin H. Ellis ได้นำเสนอใน หัวข้อ MPN 101 ซึ่งเข้าใจได้ง่ายมากครับว่า โรค MPN ชนิดไหน มีโอกาสเกิดภาวะต่างๆดังต่อไปนี้มากนน้อยกว่ากันอย่างไร…
สรุปหัวข้อการประชุม MPN Horizons 2019 ตอนที่ 2
สวัสดีครับ เมื่อตอนที่ 1 ผมได้พูดถึงภาพรวมๆ ให้ทุกท่านได้ทราบถึง หัวข้อหลักๆทั้งด้านการแพทย์ (Medical Session) และ ด้านการสนับสนุน (Advocacy Session) ที่มีการนำเสนอในการประชุมครั้งนี้ ในตอนที่ 2 นี้ ผมขอพูดถึง หัวข้อแรกของวันแรกของการประชุม ซึ่งพูดถึง พื้นฐานข้อมูลของโรค MPN ที่เรียกว่า MPN 101 เป็นหัวข้อที่แนะนำสำหรับผู้เข้าร่วมประชุมเป็นครั้งแรกครับ ผู้ที่เป็น Speaker คือ Dr. Martin…
สรุปหัวข้อการประชุม MPN Horizons 2019 ตอนที่ 1
สวัสดีครับ เพื่อนๆผู้ป่วย MPN ทุกท่าน ผมได้มีโอกาสไปร่วมการประชุมนานาชาติที่เรียกว่า MPN Horizons 2019 ซึ่งจัดขึ้นทุกปีโดยมีการเชิญตัวแทนองค์กรหรือชมรมผู้ช่วยเหลือผู้ป่วยโรค MPN ประมาณ 60 ท่าน จาก 40 ประเทศทั่วโลกที่เป็นเครือข่ายของ MPN Advocates Network ในปีนี้ MPN Horizons 2019 จัดขี้นระหว่างวันที่ 25 – 27 ตุลาคม 2562 ที่กรุงลิสบอน…