Ruxolitinib สามารถลดอาการได้ดีแต่ไม่สามารถลดการกลายพันธุ์ได้ จึงมีการค้นหายาใหม่ที่มุ่งเป้าไปที่ pathway อื่น เพื่อประโยชน์ที่ได้มากกว่า
Pevonedistat เป็นตัวยับยั้ง pathway ของ NFkB ซึ่งให้ผลไม่ซ้ำซ้อนกับยา Ruxolitinib
จากการทดลองในหนู พบว่าสามารถลด TNFα responses ในผู้ป่วย MF และ CD34+ ในผู้ป่วย sAML
นอกจากนั้นยังยับยั้ง cytokines ที่ก่อให้เกิดการอักเสบได้ดีกว่า ruxolitinib
ไม่ว่าจะใช้ยานี้เพียงยาเดียว หรือใช้ร่วมกับ ruxolitinib พบว่าสามารถลดปริมาณของยีนกลายพันธุ์ได้ในหนูทดลอง
จึงริเริ่มทำการทดลองเฟส 1 ในผู้ป่วย MF
Cr: เจ้าของข้อมูลและคุณบูรชัยที่ช่วยสรุปประเด็นสำคัญมาแบ่งปันให้เพื่อนสมาชิก